เรื่องราวดี ๆ ที่เรานำมาฝากเพื่อน ๆ วันนี้ มาจ า กรายการ ฅนจริงใจไม่ท้อ ได้พาคุณผู้ชมไปรู้จัก “ครูบุปผาชาติ” ครูใหญ่โรงเรียนวิชาวดี โรงเรียนเอกชนเล็ก ๆ ที่แม้ย ากจ น แต่เป็นที่พึ่งของเด็กย ากจ น ได้เรียนฟรี-กินอยู่ฟรี โดยครูใหญ่ไม่เพียงสอนหนังสือและทักษะอาชีพให้เด็ก ๆ แต่ถึงขั้นทำ “ห่อหมก” ไปเร่ข าย เพื่อให้เด็ก ๆ และโรงเรียนอยู่ได้
โรงเรียนวิชาวดี จ.นครสวรรค์ เป็นโรงเรียนเอกชนเล็ก ๆ ที่ก่อตั้งมา 73 ปีแล้ว เพื่อให้เด็กย ากจ นในชุมชนได้เข้าถึงการศึกษา ต ามปณิธานของผู้ก่อตั้งโรงเรียนและเป็นครูใหญ่ในยุคเริ่มแรก คือ ครูเปรมวดี จำปาสุต

เมื่อครูเปรมวดีเสีย ครูสมาน สามี รับไม้เป็นครูใหญ่ต่อ แต่เมื่อสังข ารร่วงโรย และเริ่มเป็นอุปสรรคต่อการดูแลโรงเรียน คุณต าสมานจึงขอให้ครูบุปผาชาติ หมุนสา ซึ่งเป็นครูสอนที่โรงเรียนแห่งนี้มานาน รับไม้เป็นครูใหญ่ต่อ เพราะได้รับความไว้วางใจมากสุด
“ครูมาเป็นครูอยู่ที่นี่ ตั้งแต่จบ ม.ศ.3 ใหม่ ๆ ตั้งแต่ปี 2511 คุณต าสมานและคุณย ายเปรมวดี ได้รับไว้ ตอนนั้นเ งิ นเดือนแค่ 150 บ าท แต่ตอนนั้นข้าวสารก็ราคาเพียง 20 บ าทเท่านั้น เราก็พออยู่ได้”

“พอทำงานนาน และเรียนต่อ จ นจบปริญญาโท ก็สอนอยู่ที่นี่ตลอด จึงเป็นที่ไว้วางใจของคุณต าสมาน เพราะท่านเห็นว่าเป็นครูที่ตั้งใจสอน และอยู่นานกว่าเข า ก็ได้รับมอบหมายว่า บุปผาดูแลโรงเรียนให้คุณต านะ ก็ช่วยดูแลเพราะท่านแก่แล้ว เผอิญท่านมาลื่นล้ม และเสียไป ก็รับปากกับท่านว่า จะดูแลให้ดีที่สุดคุณต าไม่ต้องห่วง

ท่านอย ากให้โรงเรียนนี้เป็นวิทย าทาน ทั้งคุณต าคุณย ายท่านรักโรงเรียนนี้มาก โรงเรียนวิชาวดี วดีคือชื่อภรรย าท่าน ชื่อเปรมวดี เอาชื่อตรงนี้มาเป็นโรงเรียน” ครูบุปผาชาติ หมุนสา ครูใหญ่โรงเรียนวิชาวดี กับวัย 71 ในวันนี้ ย้อนที่มาของโรงเรียนและการได้เป็นครูใหญ่ของที่นี่
73 ปีแล้วที่โรงเรียนวิชาวดีให้การศึกษาและทักษะอาชีพแก่เด็ก ๆ รุ่นแล้วรุ่นเล่า ปัจจุบันมีนักเรียนในความดูแล 65 คน ซึ่งมีทั้งเด็กไทยและต่างด้าว เปิดสอนตั้งแต่ ป.1 ถึง ป.6

“มีผู้ปกครองบอก ครูเปิดถึง ม.3 หน่อยได้ไหม เราไม่มีกำลัง เ งิ นมันน้อย เมื่อก่อนสมัยก่อน ที่โรงเรียนอยู่ได้ เพราะรัฐอุดหนุนเ งิ นเดือนครู แต่หลังจ า กนั้น รัฐเปลี่ยนเป็นการอุดหนุนรายหัวนักเรียน
เพราะฉะนั้นโรงเรียนเรา เด็กต่ำกว่าเกณฑ์ก็มี แต่เราไม่มีเปิดอนุบ าล 2.เด็กนานาชาติที่มาอยู่กับเรา (ต่างด้าว) (สองประเภทนี้ไม่ได้อยู่ในระบบที่จะเบิกค่าใช้จ่าย เ งิ นอุดหนุนจ า กรัฐบ าล) ตอนนี้มีเด็กทั้งหมด 65 คน อยู่ในระบบแค่ 44 คน นอกนั้นไม่ใช่ 20 กว่าคนเป็นภาระที่โรงเรียนต้องให้อยู่ให้กิน ดูแลเข าไป”

“โรงเรียนวิชาวดี” ที่พึ่งเด็กย ากจ น โรงเรียนเอกชนเเห่งเเรกให้เด็กเรียนฟรี-กินฟรี!!
“โรงเรียนนี้เด็กน่าสงสารมาก และเป็นโรงเรียนเอกชนเเห่งเเรกในประเทศไทยก็ว่าได้ ที่ไม่เก็บค่าเล่าเรียน ไม่เก็บค่าการศึกษา บำรุงอะไรไม่เก็บ มีแต่ทางโรงเรียนหาให้เด็ก โดยการนำของครูใหญ่ ซึ่งเป็นคนที่โอบอ้อมอารี รักเด็กมาก คือต้องการยกการศึกษาในระดับท้องถิ่น่ให้ดีขึ้น

เด็กเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่ย ากจ น พ่อแม่ก็ไปรับจ้าง ส่วนใหญ่อยู่กับต า ย าย ป้า บ างครั้งเด็กข าดความอบอุ่น ก็มาได้รับความอบอุ่นที่โรงเรียนจ า กครูบ้าง ครูใหญ่บ้าง เช้ามาโรงเรียน บ างทีก็ไม่ได้ทานอาหารมา
แต่ทางโรงเรียนก็จัดให้ มีอาหารเช้า อาหารกลางวัน และมีนมให้ ซึ่งเด็กก็ ในย่านนี้ และมีเด็กที่อยู่ใกล้ ๆ ในเมืองก็มีบ้าง มีรถโรงเรียนรับส่ง ฟรีเหมือนกัน” ครูสำรอง ขำอ้วม ครูโรงเรียนวิชาวดี สะท้อนภาพความย ากจ นของเด็กที่นี่
ครูใหญ่ “บุปผาชาติ” สงสารเด็ก พร้อมทำทุกอย่าง เพื่อไม่ให้เด็ก ๆ อดข้าว

“ฐานะทางครอบครัวเด็กไม่ค่อยมีเท่าไหร่ มีวันหนึ่งที่เรากำลังรับประทานอาหาร เด็กคนหนึ่งซ่อนข้าวไว้ ครูอีกคนหนึ่ง ท่านมาบอกว่า หนูอะ จัดอาหารไว้ให้เด็กพร้อม ทำไมข้าวไม่พอ ทราบว่า มีเด็กคนหนึ่งซึ่งปัญญาอ่อนนิด ๆ ไม่ปกติ เพื่อนบอก อยู่ในลิ้นชัก กอล์ฟ ๆ ครูบอก ทำไมกอล์ฟเอาข้าวมาซ่อนไว้ตรงนี้
เข าก็ตอบมาว่า ครูครับ เมื่อคืนนี้แม่ผมไม่สบ าย ตัวร้อน จะต้มข้าวให้แม่กินข้าวก็ไม่มี วันนี้หนูกินข้าวแล้ว แต่แม่ยังไม่ได้กิน หนูจะเอาข้าวจานนี้ไปให้แม่หนูกิน ตั้งแต่นั้นมา เรามันรู้สึกว่า แม้เราจะจ น แต่ยังมีอีกส่วนหนึ่งที่จ นกว่า”
เพื่อให้เด็ก ๆ และโรงเรียนอยู่ได้ ครูใหญ่บุปผาชาติ ถึงกับทำ “ห่อหมก” เพื่อไปเดินขๅยวันจันทร์-พุธ-ศุกร์
“รู้สึกสงสารแก เหนื่อยย าก บ างครั้งเ งิ นไม่ค่อยมี ได้จ า กงบประมาณก็น้อย แกก็ต้องทำห่อหมกไปขๅย ขๅยจันทร์ พุธ ศุกร์ แต่ก็ไม่ได้ทำทุกอาทิตย์ เว้นบ้าง ท่านก็เหนื่อย ได้อาศัยเด็ก ถ้าโรงเรียนเปิด ก็ช่วงเย็น ช่วยทำ กวนห่อหมก

ส่วนใหญ่ไปขๅยต ามตลาด แถวชุมชนต ามนี้บ้าง บ างทีมีคนในเมืองมาสั่งทำห่อหมก เป็นร้อยเหมือนกัน ก็มี” ครูสำรอง ขำอ้วม ครูโรงเรียนวิชาวดี
ครูใหญ่บุปผาชาติ ไม่ใช่แค่สอนหนังสือเด็ก และทำห่อหมกไปขๅย แต่ยังสอนวิชา “ชี วิ ต” เพื่อให้เด็กพึ่งตนเองได้ในภายภาคหน้า
“ครูคิดว่าเรามีอาชีพครู ทำยังไงให้เข ามีความรู้เพื่อจะไปประกอบอาชีพได้ในภายภาคหน้า ให้เข าอ่านออกเขียนได้ ให้เข าทำมาหากินได้ ไม่เป็นปัญหาสังคม อย ากให้เข าได้เรียนรู้ ให้ช่วยเหลือตัวเองได้
จึงใช้วิชาชี วิ ต ครูก็จะสอนทำน้ำย าล้างจาน เย็บปักถักร้อย ปลูกผัก เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ ขๅยของเพื่อเป็นแบบอย่างว่า ครูเนี่ย ขนาดเป็นครูแล้ว และแก่แล้ว ก็อย ากเป็นแรงบันดาลใจให้เข าเห็นว่า ครูเข าก็เหนื่อยนะ แต่ครูทำเพื่อพวกเรา เข าจะได้เลียนแบบได้”
ครูใหญ่บุปผาชาติ ผู้ซึ่งใช้ชี วิ ตอยู่ในโรงเรียนวิชาวดี กับวัย 71 ในวันนี้ ยอมรับด้วยว่า การที่โรงเรียนดูแลเด็ก ๆ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายใดใด ส่งผลให้ต้องพย าย ามพึ่งตนเอง และปฏิเสธไม่ได้ว่า ที่โรงเรียนนี้อยู่ได้ เพราะมีผู้ใจบุญช่วยบริจาค

“เช้าตื่นมา ครูก็จะลงมาหุงข้าวหาข้าวให้เด็กก่อน ไม่ใช่ครูคนเดียว ทุกคนช่วยกัน คนไหนดูแลไก่ ก็ดูแลไก่ ดูแลปลา รดน้ำต้นไม้ เราจะแบ่งกัน ครูมีหน้าที่ทำอาหารเช้าให้กับเด็ก ๆ เรามีให้ 1 มื้อเช้า 2 กลางวัน เด็กไม่ต้องทานมา เรารู้ครอบครัวเข าเป็นอย่างนี้ เราก็ทำไว้ให้เข า
หลวงพ่อให้ข้าวสารมา เรามีแต่กับ เราก็อยู่ได้ ครูไม่เคยเก็บค่าอะไรสักสลึงเดียว เด็กอยู่ที่นี่ ไม่ได้เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ เลย ฟรีหมดทุกอย่าง แม้แต่จะกินจะนอน เสื้อผ้าก็มีผู้บริจาคให้ เมื่อผู้ใจบุญเข้ามา จะถามว่าครูอย ากได้อะไร นักเรียนครูเข้าห้องน้ำยังไม่เป็นเลย
ครูก็บอก ก่อนอื่น ขอห้องน้ำก่อน มีห้องน้ำได้เข้า เข าเข้าไม่เป็นแรก ๆ จะลำบ ากมาก อาคารเรียนเมื่อก่อน ก็ไม่เป็นอย่างนี้นะ เปลี่ยนแปลงไปเพราะผู้ให้ทั้งนั้น” ครูใหญ่บุปผาชาติ เล่ากิจวัตรประจำวันและน้ำใจจ า กผู้ใจบุญที่มอบให้โรงเรียนวิชาวดี
เด็ก ๆ ที่จบจ า กโรงเรียนวิชาวดีไป บ างคนเมื่อเติบโต เลือกที่จะกลับมาที่นี่อีกครั้ง ในฐานะครูเพื่อช่วยงานครูใหญ่บุปผาชาติและดูแลเด็ก ๆ

“มองว่าครูใหญ่เป็นคนรักเด็กอย่างนี้นะ ทุ่มเทเพื่อเด็ก เราเลยฝังใจว่า วันหนึ่งเราต้องเป็นอย่างนี้ให้ได้ เลยตัดสินใจเรียนสายครู จบครู และไปฝึกงาน ตอนฝึกงานยังไม่รู้ว่า โรงเรียนมีการเปลี่ยนแปลงไปขนาดไหน จ นฝึกงานเสร็จ
เพื่อนส่งข่าวว่า ครูบุปผาชาติเป็นครูใหญ่แล้วนะ เลยกลับมาหาครูใหญ่ คืออย ากสืบทอดปณิธานครูใหญ่ต่อไป อย ากช่วยเหลือสังคมเหมือนที่ครูใหญ่ทำ แต่คงทำได้ไม่ดีเหมือนครูใหญ่ แต่ก็จะทำให้ดีที่สุดเท่าที่เราจะทำได้” แสงสุรีย์ ยืนวงษ์ ครูโรงเรียนวิชาวดี

“ครูใหญ่เป็นผู้หญิงที่เก่ง ทำงานตั้งแต่อายุ 19 จ นถึงปัจจุบัน 71 ท่านก็ไม่ได้หยุด ภูมิใจครูใหญ่เป็นคนเก่ง เป็นคนดี ครูใหญ่ทุ่มเท และภูมิใจว่าครูใหญ่เป็นผู้เสียสละ ทำเพื่อเด็ก ๆ จริง ๆ” กนกทิพย์ ธนะหิรัญญา ครูโรงเรียนวิชาวดี
“ถ้าถามความประทับใจ แกก็เปรียบเสมือนญาติผมคนหนึ่ง ไม่ใช่พี่ก็เหมือนพี่ ไม่ใช่น้องก็เหมือนน้อง แกเป็นคนที่อุทิศตน เสียสละจริง ๆ ถ้าเป็นคนธรรมดานี่ อายุขนาดนี้ แกสมควรพักผ่อน ไม่น่ามาแบกภาระสังคมขนาดนี้ รู้สึกเห็นใจแก นอกจ า กแกช่วยโรงเรียนแล้ว ยังช่วยในชุมชนอีก ทำโครงการอะไรต่าง ๆ ให้ชุมชนก็มี

อย ากจะบอกว่า ครูใหญ่เหนื่อยย ากและลำบ าก ก็เพื่อเด็กในชุมชน ขอเป็นกำลังใจให้ครูใหญ่สู้ต่อไป และพวกผมก็จะอยู่เคียงข้าง จ นกว่าจะหมดกำลัง” สำรอง ขำอ้วม ครูโรงเรียนวิชาวดี
“ครูจะพูดกับครูทุกท่านในโรงเรียนนี้เสมอว่า ที่ทำนี่เพื่อช่วยเหลือสังคม ครูทุกท่านเต็มใจ และให้ช่วยกันดูแล ทุก ๆ คนก็รู้ว่าเรามีความตั้งใจยังไง และทำต ามครูได้ทุกคน ถ้าเราล้มไปเมื่อไหร่ แต่ครูตั้งใจว่าจะทำจ นกว่าเราลุกไม่ขึ้น จะทำอะไรที่ช่วยสังคมให้ดีที่สุด จ นกว่าเราจะหมดลมหายใจ เราไม่มีอะไรตอบแทนแผ่นดิน

นอกจ า กการช่วยเหลือแผ่นดินโดยการให้ความรู้ ให้ที่อยู่อาศัยแก่เด็ก ๆ และเป็นแบบอย่างให้เข าพอที่จะทำต ามเราได้” บุปผาชาติ หมุนสา ครูใหญ่โรงเรียนวิชาวดี ผู้อุทิศตนและเสียสละเพื่อเด็ก ๆ อย่างแท้จริง
โรงเรียน คือ สถานที่สำหรับฝึกสอนนักเรียนภายใต้การดูแลของครูหรืออาจารย์ หลายประเทศมีระบบการศึกษาอย่างเป็นทางการ ส่วนใหญ่เป็นการศึกษาภาคบังคับ ในระบบการเรียนนี้ นักเรียนจะผ่านโรงเรียนต ามลำดับ ชื่อของโรงเรียนเหล่านี้อาจแตกต่างไปต ามภาษาและประเทศ แต่โดยหลักจะมีโรงเรียนประถมสำหรับเด็กเล็ก และโรงเรียนมัธยมสำหรับเด็กโตที่ได้สำเร็จการศึกษาระดับประถมมาแล้ว
ความดีเป็นสิ่งที่ไม่มีวันหมดอายุแม้ความดีนั้นจะไม่มีใครเห็นก็ต ามแต่จะช้าจะเร็วผลของการทำความดีจะกลับมาหาเจ้าของ
แหล่งที่มา: ฅนจริงใจไม่ท้อ/ เฟซบุ๊ก ฅนจริงใจไม่ท้อ
เรียบเรียงโดย 1ไร่ไม่จ น