การปลูกอินทผาลัมให้ได้ผ ล ผ ลิ ตดี ๆ ข ายได้ราคาต ามที่ตลาดต้องการนั้นมันไม่ได้ง่ายเลย แถมบ างทีปลูกแล้วก็ดันไม่ให้ผลผลิตอีก สำคัญกว่านั้นคือแต่ละต้นความอร่อยก็ดันไม่เหมือนกันอีกด้วย
สำหรับใครที่อย ากจะรู้วิธีการดูแล บำรุงหลังปลูก ว่ าต้องทำอ ย่ างไร บ้างเพื่อให้อินทผาลัมนั้นมีต้นที่แข็งแรงและให้ผลผลิตที่ดี อย ากให้ทุกคนได้อ่านและนำไปปรับใช้กันได้เลย

การให้น้ำต้นอินทผาลัม
รดน้ำทันทีหลังการปลูก และหลังจ า กนั้นจะต้องให้น้ำ 1 ครั้ง/วัน เป็นอย่ างต่ำ อย่ าข าดน้ำโดยเฉพาะในระยะการปลูก 1 เดือนแรก น้ำจะสำคัญมาก ๆ พอต้นเริ่มโตได้สักหน่อย เริ่มแข็งแรงแล้วก็ปรับมาเป็น 3 วัน/ครั้ง ได้เลย
โดยให้รดในตอนเช้าหรือเย็นเท่านั้น ให้น้ำในปริมาณ 15 – 25 ลิตร/ต้น ถึงจะเพียงพอ และก็ดูความชื้นในอากาศและดินประกอบด้วย หากเป็นหน้าฝนก็ไม่ต้องรดบ่อยถ้ามีฝนตกสม่ำเสมอแต่ถ้าหน้าร้อนจะต้องให้น้ำเยอะหน่อยและพ่นละอองความชื้นช่วยด้วย

การให้ปุ๋ ยต้นอินทผาลัม
ใช้เป็นปุ๋ ยวิทย าศาสตร์หรือปุ๋ ยชีวภาพ โดยให้ทุก 2 สัปดาห์ ควรให้หลังปลูก 1 เดือน ในปีที่ 1 – 2 โดยจะใช้เป็นปุ๋ ยสูตร 27 – 5 – 5 และให้ประมาณ 2 เดือน/ครั้ง จะทำให้ต้นอินทผาลัมเติบโตได้เร็ว
และใส่ปุ๋ ยคอกด้วย 2 ครั้ง/ปี ใส่ครั้งละ 5 กิโลกรัมโรยรอบโคนต้นให้มีระยะห่างจ า กโคนประมาณ 30 เซนติเมตร ไม่ควรจะใกล้หรือห่างมากไปกว่านี้
พอเข้าไปปีที่ 3 แล้วจะเริ่มมีการติด ด อ กเราก็ใส่ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยห มั กเพิ่มเพื่อบำรุง และพอต้นฝนประมาณเดือนตุลาคมก็ใส่ปุ๋ ยอินทรีย์แล้วหยุดให้น้ำ จ
ะทำให้มี ด อ กตั้งแต่เดือนธันวาคม – มีนาคมเลย จ า กนั้นพอเข้าปีที่ 4 ก็ทำเหมือนเดิมกับปีที่ 3 เลย หากมีผลดกเยอะเต็มต้นอย่ าลืมทำไม้ค้ำยันด้วยเพื่อไม่ให้ก้ านรับน้ำหนักมากเกินไป

การกำ จั ด วั ช พื ช และการตัดแต่ง
จำเป็นมากที่จะต้องกำจัดวัชพืชออกเพราะว่าเป็นจัวแย่งอาหารอินทผาลัม รวมถึงการตัดแต่งใบด้วย ใบแก่ให้ใช้กรรไกรตัดเลยหรือเคียวเกี่ยวออกเลยก็ได้ หากปล่อยไว้อาจจะมีเหล่าแ ม ล งศัตรูพืชมาทำรังในนั้น
รวมถึงตัดหนามตรงบริเวณโคนใบด้วย เวลาดูแลเวลาเก็บเกี่ยวจะได้สะดวกมากขึ้น
การผ ส ม เ ก ส ร อินทผาลัม
เราต้องรอให้จั่นตัวผู้แตกออกมาเห็นเป็นกลีบ ด อ กสีข าวเป็นแฉก แล้วเอาถุงพลาสติกไปคลุมไว้จัดการผูกปากถุงให้เรียบร้อย ต่อด้วยการตัดช่อ ด อ กออกมาทำการเขย่ า ๆ เพื่อให้ละอองเกสรตกลงมา
จ า กนั้นเอาเกสรใส่ในถุง ไล่อากาศออกให้หมดแล้วปิดปากถุงไว้ให้สนิทเก็บในตู้เย็นช่องปกติ เพื่อรอผสมกับเกสรตัวเมีย เวลาผสมนั้นทำในตอนเช้าเอาเกสรตัวผู้ออกมา แบ่งเก็บไว้เหมือนเดิมบ างส่วน
แล้วเอาบ างส่วนใส่ถุงพลาสติกเขย่ า ๆ ให้เกสรฟุ้งกระจายในถุงแล้วนำไปครอบ ด อ กตัวเมียแล้วเขย่ า ๆ ให้เกสรผสมกัน
จ า กนั้นให้ทำการผสมอีกรอบในวันต่อมาเพื่อให้มีโอกาสในการผสมเกสรสำเร็จได้สูงขึ้น และหากมีฝนตกหลังการผสมเกสรไปแล้ว 4 – 6 ช ั่วโมงเราก็ต้องผสมเกสรใหม่เพราะว่าน้ำฝนล้างเอาเกสรที่ผสมก่อนนี้ไปหมดแล้วนั่นเอง

การตัดแ ต่ ง ช่ อผล
เราจะต้องทำการปลิดผลอินทผาลัมตั้งแต่ตอนยังเล็กเลย ปลิดออกบ างส่วนเพื่อให้ได้ผลผลิตที่สมบูรณ์ มีคุณภาพดีมากที่สุด โดยในแต่ละก้านนั้นให้เหลือผลอยู่ประมาณ 20 – 25 ผล ใน 1 ช่อก็ให้มีประมาณ 45 – 50 ก้าน กำลังพอดี
เวลาปลูกนั้นพย าย ามอย่ าย่ำตรงโคนต้นในระยะ 1.5 เมตร เพราะจะทำให้ดินแน่นเกินไปทำให้ปุ๋ ยซึมลงย ากและอากาศไม่ไหลเข้า และจะต้องคอยระวังตอนรดน้ำอย่ าให้มีน้ำขัง รวมถึงตอนฝนตกด้วยน้ำจะต้องระบ ายได้ดี ตอนปลูกก็ไม่ต้องกลบจ นมิดมากไป ก่อนการติด ด อ กออกผล 120 วันไม่ควรจะตัดแต่งหรือบำรุง ปุ๋ ยอะไรทั้งนั้นเพราะจะทำให้ต้นชะงักการเติบโตได้

การเ ก็ บ เ กี่ ย ว ผลผลิต
ปลูกอินทผาลัมไปประมาณ 3 – 4 ปีเราถึงจะเห็นผลผลิต เป็นพืชที่ใช้เวลาสักหน่อยกว่าจะเห็นผลเรียกว่าเป็นพืชระยะกลางถึงย าวได้เลย และอัตราการให้ผลผลิตจะอยู่ที่ประมาณ 150 – 250 กิโลกรัม/ต้น/ปี พอเริ่มสุกให้หาถุงต าข่ายมาหุ้มไว้รอบ ๆ เพื่อป้องกันการรบกวนของศัตรูพืชต่าง ๆ สามารถเก็บเกี่ยวก่อนที่ผลจะสุกได้

การเก็บ รั ก ษ าอินทผาลัม
สำหรับอินทผาลัมสดนั้นเราเก็บในตู้เย็นได้นานถึง 2 – 3 สัปดาห์เลย หรือจะเก็บแบบแช่แข็งก็อยู่ได้นานถึง 4 เดือนเลยทีเดียว สำหรับผลที่ต ากแห้งแล้วจะเก็บได้นานยิ่งขึ้น โดยให้ล้างทำความสะอาดก่อนจะนำไปต าก

การปลูกอินทผาลัมให้ได้ผลผลิตดี ๆ นั้นจะต้องแลกมากับการลงทุนที่ค่อนข้างสูงพอสมควรเลยและยังจำเป็นจะต้องใช้ส า รกำจัดศัตรูพืชร่วมกับส า รกำจัดเ ชื้ อ ร า ด้วย เพราะกว่าจะได้ผลผลิตมามันไม่ง่าย และจะต้องให้ ส า รเหล่านี้ตอนอากาศดี ๆ เลี่ยงตอนอากาศร้อน ส า รจะเป็นอั น ต ร า ยต่อต้น และอย่ าลืมศึกษาข้อมูลการปลูก อ ย่ า ง ละเอียดก่อนลงมือ
ประโยชน์ของอินทผลัม
ให้พลังงานสูง ช่วยบำรุงร่างกายที่อ่อนล้า ไม่มีคอเลสเตอรอล และไขมันต่ำ เส้นใยอาหารสูง ช่วยลดอาการท้องผูก และระบบขับถ่าย บำรุงเม็ดเลือด ป้องกันการเป็นโ ร คโลหิตจาง
เรียบเรียงโดย 1ไร่ไม่จ น