ปุ๋ยสำหรับพืชมีกี่ชนิด และหลักการให้ปุ๋ยต้องทำอย่ า งไรให้สมดุลแก่พืช

เนื่องจ า กไนโตรเจ น ฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมที่มีอยู่ในดินถูกชะล้างได้ง่าย และพืชต้องการในปริมาณที่มากกว่าธาตุอื่นๆ ฉะนั้นดินมักข าดธาตุดังกล่าว จึงจำเป็นต้องเติมลงไปเมื่อทำการเพาะปลูกเพื่อให้เพียงพอกับความต้องการของพืช การเติมไนโตรเจ น ฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมนี้ทำได้โดยการใส่ปุ๋ยไปในดินปุ๋ยที่ใช้นี้แบ่งออกได้เป็น 4 ชนิดด้วยกันคือ ปุ๋ยวิทย าศาสตร์ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอกและปุ๋ยพืชสด

ปุ๋ยวิทย าศาสตร์

เป็นปุ๋ยที่เพิ่มอาหารให้แก่ดินแต่เพียงอย่ างเดียวเท่านั้น ไม่ได้ช่วยให้คุณสมบัติของดินดีขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ปุ๋ยสำเร็จรูปและปุ๋ยเดี่ยว

ปุ๋ยเดี่ยว เป็นปุ๋ยที่มีอาหารอย่างใดอย่ างหนึ่งเพียงอย่ างเดียว แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด คือ

1.ปุ๋ยไนโตรเจ น ให้ธาตุไนโตรเจ น (N)

2.ปุ๋ยฟอสฟอรัส ให้ธาตุฟอสฟอรัสในรูปก s ดฟอสฟอริก (P2O5)

3.ปุ๋ยโปแตส ให้ธาตุโปแตสในรูปโปแตสเซียมออกไซด์ (K2 O)

ปุ๋ยหมัก

คือปุ๋ยที่เกิดจ า กการหมักเศษของพืช เช่น หญ้าแห้ง ฟางแห้ง ใบไม้ ลำต้น หรือตอชังของพืชในไร่นา หรือขยะของบ้านเรือนร่วมกับมูลสั n ว์ หรือสิ่งที่ช่วยให้เศษพืชนั้นสลายตัวเร็วขึ้น

โดยวางสลับชั้นระหว่างเศษของพืชกับมูลสั n ว์ และคอยรดน้ำให้พอชุ่มตลอดเวลาที่หมักปุ๋ย และหมั่นกลับกองปุ๋ยเพื่อให้ซากพืชผุเ ปื่ อ ยเร็วขึ้น ซึ่งใช้เวลาประมาณ 3-4 เดือน กองปุ๋ยหมักก็พร้อมที่จะนำไปใช้ได้ ปุ๋ยชนิดนี้หาได้ง่ายและมีราคาถูกที่สุด โดยทั่วไป ปุ๋ยหมักจะมีธาตุอาหาร ดังนี้

1.ไนโตรเจ นประมาณร้อยละ 1.5-3 หรือโดยเฉลี่ยร้อยละ 3 ของน้ำหนักแห้ง

2.ฟอสฟอรัสประมาณร้อยละ 0.5-1 ของน้ำหนักแห้ง

3.โปแตสเซียมประมาณร้อยละ 1-2 ของน้ำหนักแห้ง

ถึงแม้ว่าปุ๋ยหมักจะมีคุณค่าทางอาหารครบแต่ก็มีอย่ างละน้อย ถ้าจะให้ได้ผลดีเต็มที่ควรจะใช้ร่วมกับปุ๋ยวิทย าศาสตร์จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด แต่อย่ างไรก็ดีปุ๋ยหมักมีคุณสมบัติครบถ้วนในทางที่จะช่วยให้ดินร่วนซุยอยู่เสมอ

ช่วยลดความเหนียวของดิน ทำให้ดินอุ้มน้ำได้ดี ทำให้ความเป็นก s ดเป็นด่างของดินเหมาะสม ป้องกันการชะล้างอาหารธาตุ การใช้ปุ๋ยหมักอาจจะใส่เมื่อเตรียมดินก่อนปลูกพืชหรือจะใช้เป็นวัตถุคลุมดินก็ได้ประโยชน์ดี

ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยมูลสั n ว์

ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยมูลสั n ว์ (animal manures) เป็นปุ๋ยที่หาได้ง่าย มีอยู่หลายชนิดด้วยกัน เช่น มูลวัว มูลควาย มูลค้างคาว ฯลฯ ปุ๋ยคอกแต่ละชนิดจะมีปริมาณธาตุอาหารแตกต่างกันไปทั้งนี้ย่อมขึ้นอยู่กับชนิดของสั n ว์

อายุของสั n ว์ ชนิดของอาหารและวิธีการเลี้ยงสั n ว์ เช่น ปุ๋ยคอกที่ได้จ า กสั n ว์พวกไก่จะมีธาตุอาหารสูงมากกว่ามูลม้าและวัวเป็นต้น

พืชจึงจะนำไปโตรเจ น ฟอสฟอรัส และโปแตสเซียมในนั้นไปใช้ได้ ส่วนไนโตรเจ น ฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมพืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทันที ในการเก็บปุ๋ยคอกมักจะใช้เศษหญ้า uี้เลื่อยหรือเศษฟางใส่ลงไปผสมกับปุ๋ยคอก ในอัตราส่วนฟางต่อปุ๋ย = 1:4

เพื่อให้ฟางเศษหญ้าหรือuี้เลื่อยคอยดูดซับป้องกันมิให้อาหารธาตุที่ละลายน้ำไหลออกและสูญหายไป นอกจ า กนี้ปุ๋ยคอกยังมีประโยชน์ในการปรับปรุงคุณภาพของดินให้ร่วนซุย อุ้มน้ำได้ดี มีความชื้นสูงและทำให้พืชที่ปลูกเจริญเติบโตเร็ว ทนแล้งได้ดีและทำการถอนได้ง่าย

ปุ๋ยพืชสด

ปุ๋ยพืชสดคือปุ๋ยซึ่งเกิดจ า กการไถกลบพืชสดๆ ที่ปลูกขึ้นบนพื้นที่นั้นหรือตัดพืชสดจ า กที่อื่นแล้วนำมาไถกลบลงไปในดิน เพื่อเพิ่มสารอินทรีย์วัตถุหรือ humus และปริมาณธาตุอาหารให้แก่ดิน พืชที่ใช้เป็นปุ๋ยชนิดนี้อาจเป็นพืชพวกตระกูลถั่วหรือเป็นพืชชนิดอื่นก็ได้ แต่ส่วนมากนิยมใช้พืชพวกตระกูลถั่ว

ทั้งนี้เ นื่ องจ า กว่าพืชพวกตระกูลถั่วสามารถเอาไนโตรเจ นจ า กอากาศมาใช้เป็นประโยชน์ได้เพราะฉะนั้นเมื่อไถกลบและเ u่ าเ ปื่ อ ยไป ไนโตรเจ นที่อยู่ในพืชก็จะถูกปลดปล่อยออกมาอยู่ในดิน พืชอื่นๆ

สามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์นั้นจะมีมากกว่าการให้พืชชนิดอื่นๆ กล่าวคือพืชตระกูลถั่วจะเพิ่มปริมาณธาตุอาหารให้แก่ดินมากกว่าพืชชนิดอื่นๆ เช่น หญ้าต่างๆหรือฟาง พืชที่นิยมใช้เป็นปุ๋ยพืชสด ได้แก่ ปอเทือง ถั่วลาย และพวกโสนชนิดต่างๆ ฯลฯ

หลักในการให้ปุ๋ย

1.เมื่อจะทำการใส่ปุ๋ยควรพิจารณาถึงลักษณะของดิน ชนิดของพืชและฝนฟ้าอากาศ (climate) ทั้งนี้เพราะว่าดินแต่ละชนิดมีคุณสมบัติในการที่จะยอมให้น้ำผ่านและความสามารถในการยึดหรือจับอาหารของพืชได้แตกต่างกัน ฝนฟ้าอากาศ (cilmate)

เช่น ฝนและอุณหภูมิมีอิทธิพลทำให้พืชที่เจริญเติบโตเร็ว เช่น หัวผักกาดแดง ซึ่งใช้เวลาประมาณ 40 วันก็โตเต็มที่ ใส่ปุ๋ยเพียงครั้งเดียวตลอดชี วิ ตของมันก็นับว่าเพียงพอ แต่ถ้าเป็นพืชที่มีอายุนานกว่านี้ เช่น พืชพวกหญ้าก็ควรจะใส่หลายๆ ครั้ง

2.ปุ๋ยที่ใส่ต้องอยู่ในบริเวณที่รากพืชสามารถไปถึงได้อย่ างรวดเร็วและจะต้องมีความเข้มข้นพอเหมาะคือไม่ทำมีผลกระทบต่อแก่ราก

3.เลือกวิธีการใส่ปุ๋ยให้เหมาะสมกับลักษณะของพืชที่ปลูก เช่น ปลูกพืชเป็นแถวก็ใส่ปุ๋ยเป็นแถวขนานกับแถวพืชที่ปลูก ปลูกพืชโดยวิธีหว่านก็ใส่ปุ๋ยโดยการหว่านไปพร้อมกับหว่านเ ม ล็ ดหรือหว่านคลุมลงไปบนต้นพืชโดยตรง เป็นต้น

4.เ นื่ องจ า กปุ๋ยเป็นอาหารของพืชทุกชนิด เพราะฉะนั้นในการเตรียมดินควรเก็บหญ้าออกให้หมดหลังจ า กการไถแล้ว ถ้าเก็บหญ้าไม่หมดมันจะแย่งปุ๋ยที่ใส่ลงไป ทำให้พืชที่จะปลูกไม่ได้รับปุ๋ยเต็มที่และไม่งอกงามเท่าที่ควร

5.ในการให้ปุ๋ยแก่พืชนี้ควรกะระยะที่ปุ๋ยนั้นจะเป็นประโยชน์แก่พืชมากที่สุด โดยให้ตรงกับระยะที่พืชต้องการและมีการเสียปุ๋ยไปโดยเล่าประโยชน์ เ นื่ องจ า กการชะล้าง (leaching) และเซาะกร่อนของดิน (erosion) น้อยที่สุด

6.ในการใส่ปุ๋ยควรจะใส่ให้บ่อยครั้ง แต่ให้ครั้งละน้อยๆ ดีกว่าใส่น้อยครั้งแต่ครั้งละมากๆ ทั้งนี้เ นื่ องจ า กเหตุผลที่ว่าถ้าเราให้ครั้งละมากๆ ปุ๋ยที่สูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ก็มากต ามขึ้นไปด้วย

วิธีการให้ปุ๋ย

1.ให้ปุ๋ยโดยการหว่าน (broad-cast application) ก่อนหว่านควร แบ่งปุ๋ยที่จะหว่านแต่ละครั้งออกเป็นสองส่วนเท่าๆ กันส่วนแรกให้หว่านบ างๆ ต ามแนวทิศเหนือ ทิศใต้ให้สม่ำเสมอกันทั่วพื้นที่ชั้นหนึ่งก่อนส่วนที่สองให้หว่านบ างๆ ต ามแนวทิศตะวันออกและทิศตะวันตกให้สม่ำเสมอทั้งพื้นที่ทับอีกครั้งหนึ่งโดยวิธีนี้จะให้หว่านปุ๋ยกระจายสม่ำเสมอ ทั้งพื้นที่และทำให้พืชโตเสมอกัน

การหว่านจะหว่านพร้อมกับหว่านเ ม ล็ ดหรือหว่านคลุมไปบนต้นพืชโดยตรงหรือหว่านก่อนจะปลูกพืช เช่น หว่านก่อนไถหรือหว่านหลังไถก็ได้ ข้อควรระวังในการหว่านปุ๋ยก็คือ ไม่ควรหว่านปุ๋ยในขณะที่ฝนตกหรือพายุหรือลดพัดแรงมากๆ

2.ให้ปุ๋ยโดยการโรยเป็นแถวขนานกับแถวของพืชที่ปลูก (row or banding application) วิธีนี้ใช้กับพืชที่ปลูกเป็นแถว โดยโรยปุ๋ยห่างจ า กแถวของพืชหรือแถวของเ ม ล็ ดประมาณ 2 นิ้ว

3.ให้ปุ๋ยโดยการใส่ปุ๋ยลงไปในดินที่ขุดเป็นหลุมหรือทำปุ๋ยให้เป็นก้อน (pellet) แทนที่จะหว่านคลุกเคล้าเข้ากับดิน วิธีนี้จะลดพื้นที่สัมผัสระหว่างปุ๋ยกับดินลงเหลือน้อยที่สุด หลุมหรือรูที่ขุดจะลึกประมาณ 12-20 นิ้ว แล้วอัดปุ๋ยลงไป การใส่ปุ๋ยแบบนี้มักใช้กับพวกไม้ยืนต้น โดยขุดรูรอบๆ รัศมีร่มใบและใส่ในระยะต้นฤดูฝน

4.ให้ปุ๋ยโดยการคลุมเ ม ล็ ดพืชกับปุ๋ยก่อนที่จะนำมาปลูกหรือหว่าน ให้ปุ๋ยโดยการพ่นหรือฉีดปุ๋ยลงไปยังต้นพืชที่ปลูกอยู่โดยตรง

5.ให้ปุ๋ยโดยการใส่ปุ๋ยลงไปในดินต ามร่องที่ไถ (plow-sole placement) ทำได้โดยการใช้เครื่องมือครูดไปต ามผิวดินเป็นแถวขนานกัน แล้วโรยปุ๋ยไปต ามร่องดินที่ถูกครูดนั้น

6.ใช้ปุ๋ยแข็งละลายน้ำแล้วนำต้นกล้าของพืชที่จะย้ ายไปปลูกมาแช่ (starter solution)

7.ให้ปุ๋ยโดยการฉีดปุ๋ยเหลวเข้าไปในลำต้นพืช (injection)

8.ให้ปุ๋ยโดยโรยปุ๋ยรอบต้นต ามแนวพุ่มใบ (ring application)

แหล่งที่มา plookphak

เรียบเรียงโดย 1ไร่ไม่จ น

Facebook Comments Box