เปิดร้านรถเข็นผลไม้ “ทำเงิ นปีละ 20 ล้ าน” ในออสเตรเลีย

สวัสดีท่านผู้อ่านที่น่ารักทุ กท่าน ก่อนอื่นแอดมินและทีมงานเพจเกษตรผสมผสานก็ขอขอบคุณที่ท่านผู้อ่านยังคงติดตามผลงานของเราตลอดมา ทางทีมจะคอยนำเสนอเรื่องราวดีๆ ให้ความเพลิดเพลินใจและมีประโยชน์แก่แฟนเพจทั้งหลายให้ท่านได้อ่านอยู่เป็นนิจนะคะ 

ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับเกษตร ธรรมะ ทำบุญ หรือเรื่องราวชีวิตต่างๆเช่นเคยนะคะ ทางทีมงานของฝากคำคมไว้เช่นเคยนะคะ ปริมาณของ “ความสุข” ไม่ได้ขึ้นอยู่กับจำนวนของ “สิ่งดี ๆ” ที่เราได้รับ แต่อยู่ที่ “มุมมอง” ของเราที่มีต่อ “สิ่งเหล่านั้น” ต่างหาก

อาชีพเข็นรถข า ยผลไม้เรียกได้ว่าเป็นอีกหนึ่งอาชีพที่ได้รับความนิยมอย่างมากในประเทศไทยเนื่องจากสามารถ น้ำผลไม้ ที่มีทุ กฤดูกาลของบ้านเรานำไปใส่รถเข็น หากบางคนจับทุ กจุดข า ยถูกที่ถูกเวลาเรียกได้ว่าสามารถสร้างเงิ นมหาศาลได้เลยทีเดียว

เหมือนกับอีกหนึ่งเรื่องราวของหนุ่มไทยร า ยหนึ่งที่ปิ๊งไอเดีย เปิดร้านรถเข็นข า ยผลไม้เป็นเจ้าแรกในออสเตรเลียโดยเขาได้เปิดเผยไว้ว่าสามารถสร้างร า ยได้กว่าเดือนละ 2 ล้านบ าท

ใครจะไปเชื่อว่ารถเข็นผลไม้ธรรมดาแบบไทยๆ จะสามารถสร้างเงิ นได้ถึง 2 ล้านบ าทต่อเดือนเรื่องราวสุดเวอร์วังอลังการนี้เกิดขึ้นที่ประเทศออสเตรเลีย สำหรับ ร้านตลาดหัวมุม โดยมีหนุ่มไทย ชื่อว่าจอห์น เป็นเจ้าของไอเดียดังกล่าวได้นำเอาความเป็นไทยเผยแพร่สู่สายตาชาวโลก

บอกเลยว่าการเปิดร้านข า ยผลไม้สดและผลไม้ดองในรูปแบบรถเข็นของเขา นอกจากจะเป็นที่แปลกตาสำหรับชาวต่างชาติแล้วผลตอบรับที่ได้กลับมาบอกเลยว่าดีเกินคาดมากๆตอนได้เปิดเผยว่าสามารถสร้างร า ยได้มากถึงเดือนละ 2 ล้านบ าทเลยทีเดียวปีนึงก็ประมาณ 20 ล้าน

สมพร โพธิ์ศรี หรือ John เจ้าของร้านผลไม้ชื่อดัง ในซิดนีย์ประเทศออสเตรเลีย โดยจอห์นได้เล่าเส้นทางชีวิตของตนว่าตนได้ย้ายมาอยู่ในออสเตรเลียตั้งแต่ปีพศ 2538 ต่อนั้นมีอายุได้เพียง 18 ปีแม่ของตนได้ส่งมาเรียนหนังสือที่ประเทศออสเตรเลีย

แต่บุคลิกส่วนตัวมีนิสัยที่เกเรจึงทำให้คุณแม่ ต้องส่งมาเรียนไกลบ้านเพื่อให้ห่างจากเพื่อนๆและนี่ก็เป็นจุดเริ่มต้นที่จอนได้เอามาอาศัยอยู่ในประเทศแห่งนี้

นอกจากจะมาเรียนหนังสือแล้ว ยังมาประกอบอาชีพในประเทศออสเตรเลียจนถึงปัจจุบันจุดเริ่มต้นของการเปิดร้านข า ยผลไม้รถเข็นแห่งนี้เกิดมาจากต้องการเพิ่มร า ยได้ให้กับธุรกิจของตัวจอนเอง

​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​ก่อนที่จอห์นจะมาเข็นรถข า ยผลไม้แบบนี้ ได้ทำธุรกิจขนส่งสินค้าทุ กชนิดกลับมาประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นการขนส่งทางเรือและทางเครื่องบิน และสินค้าอื่นๆเข้ามาวางข า ยภายในร้าน แต่ก็ไม่สามารถสร้างร า ยได้ดีเท่าไหร่นัก อีกทั้งยังอยากเสนอถึงความเป็นไทยจึงได้เกิดเป็นไอเดียรถเข็นผลไม้แบบไทย ที่ได้รับความนิยมอย่างมากเนื่องจากแปลกตาในซิดนีย์

บวกกับในพื้นที่ที่ อยู่ก็ยังไม่มีใครทำ ส่วนตัวแล้วจอห์นเป็นคนที่ชอบ ทานผลไม้อยู่เป็นประจำ จึงได้ปิ๊งไอเดียนำมาข า ยในย่านที่ตนเองอยู่ก่อนโดยบริเวณนั้นเรียกว่า ไทยทาวน์ การนำผลไม้มาข า ยในรถเข็น โดยจอห์น จะใช้วิธีข า ยเป็นแบบ ยำผลไม้ นำผลไม้ที่ได้ใส่แก้วและคลุกกับสูตรพริกเกลือพิเศษจากทางร้าน เรียกได้ว่าได้รับกลิ่นอาย จากประเทศไทยแบบเต็มๆเลยทีเดียว

ก่อนที่จะมาประส บความสำเร็จ ร้านรถเข็นผลไม้นี้ ตอนเคยเป็นเจ้าของร้านอาหารกว่า 10 สาขาแต่ต้องมาปิดตัวลงเพราะ โ ร คร ะบ าดอีกด้วย

สำหรับผลไม้ที่จอนนำมาข า ยนั้น จะเป็นผลไม้ท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นมะม่วงน้ำดอกไม้มะกอกน้ำมะม่วงแก้วฝรั่งสับปะรดแอปเปิ้ลเขียวแตงโมแคนตาลูป นอกจากนี้ยังใช้ผลไม้ที่นำเข้าจากประเทศไทยไม่ว่าจะเป็นกระท้อนดอง องุ่นดองมะกอกดองเป็นต้น

โดยรถเข็นของจอน้ำใช้ชื่อว่า ตลาดนัดหัวมุม เนื่องจากตามกฎหมายของออสเตรเลียแล้วไม่สามารถที่จะเข็นรถไปจอดข า ยตามสถานที่ต่างๆได้ นอกจากจะมีเหล่าผลไม้หลากหลายชนิดแล้ว ยังมี ลูกชิ้นปิ้งฮอทดอกปิ้ง ปลาหมึกย่าง ไอศกรีมกะทิสดแบบสไตล์ไทยๆ คอยให้บริการผู้ที่เข้ามาอุดหนุนอีกด้วย

และนี่ก็เรียกได้ว่าเป็นอีกหนึ่งอาชีพที่เมื่ออยู่ถูกที่ถูกเวลาแล้วสามารถสร้างร า ยได้ให้ เป็นกอบเป็นกำเลยทีเดียว ขอขอบคุณบทความจาก ibusiness ภาพจาก ตลาดนัดหัวมุม  เรียบเรียงโดย เพจเกษตรผสมผสาน

Facebook Comments Box