สวัสดีท่านผู้อ่านที่น่ารักทุ กท่าน ก่อนอื่นแอดมินและทีมงานเพจเกษตรผสมผสานก็ขอขอบคุณที่ท่านผู้อ่านยังคงติดตามผลงานของเราตลอดมา ทางทีมจะคอยนำเสนอเรื่องราวดีๆ ให้ความเพลิดเพลินใจและมีประโยชน์แก่แฟนเพจทั้งหลายให้ท่านได้อ่านอยู่เป็นนิจนะคะ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับเกษตร ธรรมะ ทำบุญ หรือเรื่องราวชีวิตต่างๆเช่นเคยนะคะ ทางทีมงานของฝากคำคมไว้เช่นเคยนะคะ ปริมาณของ “ความสุข” ไม่ได้ขึ้นอยู่กับจำนวนของ “สิ่งดี ๆ” ที่เราได้รับ แต่อยู่ที่ “มุมมอง” ของเราที่มีต่อ “สิ่งเหล่านั้น” ต่างหาก
แท้จริงแล้ว ความคาดหวังที่พ่อแม่มีต่อลูก ก็เป็นสิ่งที่จำเป็นไม่น้อย เพราะมีส่วนทำให้ลูกมีความพย าย ามทำสิ่งต่างๆ ให้สำเร็จมากขึ้น มองไม่เห็นคุณค่า ของตัวเองมากขึ้น ซึ่งจะเห็นได้จ า กงาน วิ จั ย ของต่างประเทศกล่าวว่า การที่เด็กจะประสบความสำเร็จและภาคภูมิใจในตัวเองได้
จ า กความคาดหวังและผลักดันของพ่อแม่ ที่จะทำให้ลูกพัฒนาตัวเองต่อไปเรื่อยๆ แต่เมื่อลูกโตขึ้น ความคาดหวังที่มากและหนักหน่วงเกินไป ก็อาจแปรเปลี่ยน และส่งผล ร้ า ย ทำให้ลูกรู้สึกกดดัน เพราะบ างครั้ง ความคาดหวังของพ่อแม่อาจสูงเกินความสามารถของลูกไปบ้าง
เช่น พ่อแม่หวังอย ากให้ลูกสอบวิชาคณิตศาสตร์ ได้คะแนนดี แต่ไม่ได้สังเกตว่า ความเป็นจริงแล้ว ลูกไม่ชอบและไม่เก่งวิชาคณิตศาสตร์ แต่เมื่อรู้ว่าพ่อแม่คาดหวัง ก็จะทำให้ลูกมีความ เ ค รี ย ด และกดดัน
กลัวจะสอบได้คะแนนน้อย และความกดดันที่มากเข้า ก็อาจทำให้เกิดปัญหาอื่นต ามมา เรารวบรวมข้อคิดดีๆ เพื่อให้คุณพ่อคุณแม่เข้าใจและปรับทัศนคติที่มีต่อคำว่าความคาดหวังในตัวลูกไปด้วยกันค่ะ
1. อย่าเอาความต้องการของพ่อแม่ไปคาดหวังในตัวลูก
สิ่งสำคัญที่สุดก็คือคุณพ่อคุณแม่ไม่ควรนำความต้องการของตัวเอง ไปฝากความหวังไว้กับลูก เช่น คุณแม่เคยเป็นคนเรียนหนังสือเก่ง ก็คาดหวังให้ลูกเรียนเก่ง
หรือคุณพ่อเคยอย ากเล่นกีฬาเก่ง ก็เลยคาดหวังให้ลูก เล่นกีฬาเก่งเหมือนกัน ก่อนอื่น คุณพ่อคุณแม่ต้องเข้าใจว่าความเก่ง ความฉลาด และทักษะของลูกเป็นเรื่องเฉพาะตัว
พ่อแม่อาจจะส่งเสริมและสนับสนุนลูกได้ แต่ไม่ควรคาดหวังว่าลูกจะประสบความสำเร็จต ามที่ต้องการทุกอย่าง
2. พ่อแม่ต้องเข้าใจว่าเด็กทุกคนมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
มนุษย์ทุกคน มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และนั่น ก็หมายถึงลูกของคุณพ่อคุณแม่ด้วย ดังนั้นลูกอาจชอบหรือถนัดในสิ่งที่แตกต่างจ า กคนอื่น เช่น พ่อแม่คาดหวังให้ลูกเก่งวิชาวิทย าศาสตร์เหมือนญาติพี่น้องคนอื่น
แต่ลูกอาจชอบและมีความถนัดด้านศิลปะมากกว่า การคาดหวังและพย าย ามทำให้ลูกชอบเรียนวิทย าศาสตร์จะกลายเป็นความกดดัน เพราะเมื่อลูกต้องเรียนหรือทำในสิ่งที่ไม่ถนัด ลูกจะรู้สึกถูกลดทอนคุณค่าของตัวเอง
ดังนั้น คุณพ่อคุณแม่ควรมองหาสิ่งที่ลูกถนัด แล้วผลักดันในด้านนั้น เพราะเมื่อลูกได้ทำสิ่งที่ชอบและสำเร็จได้ จ า กการสนับสนุนของคุณพ่อคุณแม่ ลูกจะรู้สึกภาคภูมิใจ มั่นใจในตัวเองมากขึ้น และอย ากจะพัฒนาตัวเองต่อไป
3. คาดหวังเป็นระยะสั้นๆ ก็พอ
จริงอยู่ที่ความคาดหวัง เป็นสิ่งที่เลี่ยงกันไม่ได้ แต่คุณพ่อคุณแม่ก็ควรระมัดระวังให้เป็นไปอย่างพอดี ไม่ตึงเกินหรือหย่อนเกินไป และที่สำคัญอีกหนึ่งอย่างก็คือ พ่อแม่ไม่ควรคาดหวังกับลูกในระยะย าวมากเกินไป
เช่น คาดหวังว่าลูกจะต้องเรียน ห ม อ ตั้งแต่ลูกยังเด็ก และพย าย ามพูด หรือแสดงความคาดหวังของตัวเองออกมาให้ลูกรับรู้ การทำแบบนี้ไม่ดีต่อลูก เป็นอย่างมาก เพราะระหว่างการเติบโตของลูก
เข าอาจค้นพบว่าตัวเองไม่ได้อย ากเรียน ห ม อ เมื่อสิ่งที่ลูกต้องการไม่ตรง กับความคาดหวังของพ่อแม่ ก็จะทำให้ลูกรู้สึกกดดัน ไม่มีความสุข และอาจทำให้ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวไม่ดีอีกด้วย
4. มีความคาดหวังที่อยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง
สิ่งที่ละเลยไปไม่ได้เลยคือ พื้นฐานของความเป็นจริง เด็กจะมีพัฒนาการค่อยเป็นค่อยไปต ามช่วงวัย เช่น คุณพ่อคุณแม่อาจคาดหวังว่าลูกจะไม่ร้องไห้งอแง เมื่อไปโรงเรียนวันแรก
แต่ธรรมชาติของเด็กที่ไม่เคยแยกจ า กพ่อแม่หรือไปโรงเรียนมาก่อน ย่อมต้องการและโหยหาคุณพ่อคุณแม่เป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น หากลูกจะร้องไห้งอแงบ้างก็เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้
หรือแม้แต่การคาดหวังว่าเมื่อลูกเข้าโรงเรียนแล้ว จะต้องดูแลตัวเองรับผิดชอบตัวเอง ได้อย่างดี ก็อาจเป็นการคาดหวังที่เกินความสามารถของลูกในช่วงวัยนั้นๆ
ดังนั้น ความคาดหวังที่ดีควรจะตั้งอยู่บนพื้นฐาน ที่เหมาะสมกับลูก ไม่ว่าจะเป็นช่วงวัยหรือความถนัดของลูก ถ้าพ่อแม่คาดหวังในตัวลูกอย่างพอดี
ความคาดหวังนั้นจะเป็นกำลังสำคัญ ที่ทำให้เด็กประสบความสำเร็จได้อย่างมีความสุขและภาคภูมิใจไปกับมัน ไปจ นถึงความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูกก็จะดีด้วยเช่นกัน
ขอขอบคุณ a b o u t m o m
เรียบเรียงโดย เพจเกษตรผสมผสาน