นิสัยแบบนี้มีเงินเท่าไหร่ก็ไม่พอใช้

เป็นเรื่องจริงที่เราต้องยอมรับที่เขาพูดกันติดปากว่า ตั้งแต่วัยทำงาน จนถึงวัยเกษียณ ว่าหาเงินมาจ่าย ออกหมด หาเงินได้เท่าไหร่ ก็ไม่พอจ่าย หาเงินมา ไม่ทันได้ใช้ หาเงินมาได้ ก็ไม่เคยมีเงินเก็บ คนทำงานทุกคน ต่างต้องการเงิน เดือนสูง ๆ รายได้ เยอะ ๆ กัน ทั้งนั้น อย่างน้อยที่สุด ก็ขอให้ได้เงินเดือน ที่พอใช้จ่ายตลอดเดือน เหลือเก็บบ้าง เล็กน้อยก็ยังดี

แต่สภาพสังคมปัจจุบัน ชีวิตของคนทำงานมีสิ่งที่ทำให้ต้องเสี ยเงิน เสี ยค่าใช้จ่ายค่ามากขึ้น ซึ่งแม้จะเป็นรายจ่าย ที่สำคัญ แต่ ก็ไม่ได้ หมายความว่า จะเปลี่ยนแปลงหรือลดรายจ่ายไม่ได้ เช่น ค่าผ่อนชำระบัตรเครดิต ขั้นต่ำ ในแต่ละเดือน ค่าผ่อนสินค้า ค่าบริการโทรศัพทมือถือ ค่าอินเตอร์เน็ต ค่าเสริมสวย-ซื้อ เครื่องสำอาง

ค่าใช้บริการฟิตเนส ค่าน้ำมันรถ รายจ่าย เหล่ านี้ เป็นการจ่าย เพื่อสิ่งที่‘อาจไม่จำเป็นต้อง มีต้องทำหรือ ต้องเป็น ’ แต่ ก็ยังดีกว่า รายจ่าย ในสิ่งที่ไร้ประโยชน์ เช่นค่า เ ห ล้ า ค่า บุ หรี่ ค่าหวยหรือ ค่าใช้จ่าย สำหรับอบาย มุขต่าง ๆ เงินเดือนเท่าไหร่ จึงจะพอกับ ความต้องการ

จึงเป็นปัญหาโลก แต กสำหรับ คนทำงาน หลายคนมีรายได้ มากกว่า ตอนเริ่มต้นทำงาน แต่ ก็ยังไม่พอใช้ จ่ายไม่พอใช้หนี้ ลองมองย้อน กลับไปในอดีต หากเราไม่ก่อหนี้ โดยเฉพาะหนี้ บัตรเครดิต เพื่อซื้อสิ่งที่ต้อง การอย่างง่าย ๆ ป่านนี้ คงมีเงิน เก็บมากมาย

หากคนทำงาน อย่างคุณจ่าย ค่า เ หล้ า ค่า บุห รี่ ในแต่ละวัน เท่าค่าใช้จ่าย ประจำวัน โดยเฉพาะค่า ข้าวถ้าง ด เ ห ล้า ง ด บุ ห รี่ ในแต่ละเดือน จะเหลือ เงินค่าข้าวเป็นสองเท่าเลย ทีเดียว

หากคุณมีรายได้หลักพัน หรือหลักหมื่นต้น ๆ แต่ซื้อเสื้อผ้า เครื่องประดับ ราคาแพงใส่ไป ทำงานใช้ โทรศัพท์ มือ ถือ เครื่องละหลายหมื่น ที่ยังต้องผ่อน

ดื่ม กาแฟแก้ว ละเกือบร้อย แม้จะเป็นความสุข ของคนทำงาน ที่ถือเป็นการให้รางวัลตัวเอง จากการทำงาน ที่เหน็ดเหนื่อย แต่ความทุ กข์ ที่ต้องจ่าย หรือเป็นหนี้ จะตามมาในภายหลัง

พฤติกร รม และการใช้ชีวิต เช่นนี้ ส่งผลให้คนทำงาน ส่วนใหญ่ มีหนี้สิน แม้แต่คนที่ทำงาน ได้เงินเดือนสูง แต่บริหารรายได้ ของตนเองไม่ดี ก็ไม่เหลือเงินเก็บ

เพราะส่วนมากได้เงิน เยอะก็ใช้ เยอะตามไป ด้วยนี่เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้อง กับความอย ากได้ อย ากมีของคน ยกตัวอย่างง่าย ๆ ตอนเป็นเด็ ก

คุณอาจจะคิดว่ามีเงิน แค่ 1 ล้านบาท ก็ถือว่ารวยแล้ว แต่เมื่อโตขึ้นมา เงิน1ล้านบาท อาจจะเป็นเงินจำนวน ที่น้อยมาก ในสายตาคุณนั่น

ก็เพราะกิเลสไม่มีที่สิ้นสุด ยิ่งคนเติบโตมากขึ้น เท่าไหร่ กิเลสก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้นตาม ‘สภาพและฐานะ นุรูปที่คุณต้องสร้างภาพ ให้ปรากฏแกสังคม’

ดังนั้นถึงจะมีเท่าไร ก็ไม่พอใช้ เพราะความต้องการ ที่เพิ่มขึ้น ลองพิจารณาดูว่า ในช่วงเริ่มต้นชีวิตการทำงาน คุณอาจมีรายได้ แค่หลักพัน หรือหลักหมื่นต้นๆ

จากรายได้ที่เพียงพอ ต่อการใช้ชีวิตในหนึ่ง หนึ่งเดือน เมื่อคุณมี ความต้องการมากขึ้นเรื่อยๆ รายได้ก็เกิด การไม่พอใช้ต้องหมุนเงินเดือน ชนเดือน

หลังจากนั้น คุณก็จะเริ่มคิดว่า ถ้ามีเงินเดือนสามหมื่นบาท ก็คงพอค่าใช้จ่ายอยู่ได้สบายๆ แต่เมื่อเงินเดือน คุณถึงสามหมื่นเมื่อไหร่

ก็กลับเข้าสู่พฤติกร ร มเดิมเงินสามหมื่น ที่คิดว่าพอสุดท้าย ก็ไม่พออยู่ดี จากที่เคยคิดว่า ‘ใช้เท่าไหร่ ก็ยังไม่พอ’

พย าย ามเปลี่ยนมาเป็น ‘อย ากเก็บออม ให้ได้เยอะที่สุด จนรู้สึกว่า ออมเท่าไหร่ ก็ยังออมไม่พอ’ หรือสร้างหนี้ ได้แต่ต้องเป็น ‘หนี้เพื่อ อนาคต’ ออมเงิน กับประกันชีวิต และฝากเงิน กับธนาคารจะได้ สบายตอนแก่

หรือมีเงินเก็บไว้ใช้หากเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน หรือเหตุการณ์ ที่ไม่คาดคิดขึ้น ประเมินรายจ่าย จากเงินเดือน หรือรายรับอื่น ๆ ก่อนเสมอ เพื่อจัดสรรเงินเดือน เป็นส่วน ๆ คิดว่าควรจ่ายอะไรเท่าไหร่ บ้างจะได้ รู้ว่าที่จ่ายไป

แต่ละเดือน จนไม่เหลือกิน เหลือเก็บนั้น รายจ่ายส่วนใด ที่ไม่มีความจำเป็น ก็ค่อยๆตัด ออกไป เรียกง่ายๆว่าใช้จ่าย อย่างประหยัด หากเก็บออม 1 ปี ได้สัก 8 หมื่น เก็บออมได้ 3 ปี เป็น 2 แสน 4 หมื่น ระหว่างนั้น อาจจะไป ฝากธนาคาร ลงทุนก็จะมีเงิน เก็บเพิ่มได้

แม้ในอนาคตข้าวของเครื่อง ใช้จะขึ้นราคา คุณก็ไม่เดือดร้อน อะไร ถ้าเทียบกับคน ที่ทำงานมา 3 ปี เท่ากัน แต่ไม่มีเงินเก็บ แม้แต่บาทเดียว ที่สำคัญคุณจะมีเงิน สำรองนอนนิ่ง ๆ ไว้ ใช้ได้ย ามฉุกเฉิน เช่นย ามเจ็ บป่ วย หรือเกิด อุบัติเหตุ ที่ทำให้คุณ ไม่สามา รถทำงาน ได้ อีกต่อไป

ขอขอบคุณแหล่งที่มา 108resources เรียบเรียงโดยเกษตรรุ่นใหม่ไม่จน

Facebook Comments Box