โครงการประกันรายได้เกษตรกร (6 พ.ย.) กลายเป็นที่สนใจของประชาชน หลัง คณะรัฐมนตรี หรือ ครม. มีมติอนุมัติให้ เมื่อวันที่ 3 พ.ย. 2563 รวมวงเงินโครงการประกันรายได้เกษตรกรราว 6 หมื่นล้านบ าท แยกเป็น ประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2563/64 พร้อม 3 มาตรการคู่ขนาน และโครงการสนับสนุนค่าบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพชีวิตผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2563/64 วงเงิน 5.1 หมื่นล้านบ าท
รายละเอียดโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว
โดยการประกันรายได้ข้าว 5 ชนิด ความชื้นจะต้องไม่เกินร้อยละ 15 ได้แก่
1 ข้าวเปลือกหอมมะลิ ร า ค าประกันตันละ 15,000 บ าท ไม่เกินครัวเรือนละ 14 ตัน
2 ข้าวเปลือกหอมมะลินอกพื้นที่ ร า ค าประกันตันละ 14,000 บ าท ไม่เกินครัวเรือนละ 16 ตัน
3 ข้าวเปลือกเจ้า ร า ค าประกันตันละ 10,000 บ าท ไม่เกินครัวเรือนละ 30 ตัน
4 ข้าวเปลือกหอมปทุมธานี ร า ค าประกันตันละ 11,000 บ าท ไม่เกินครัวเรือนละ 25 ตัน
และ 5. ข้าวเปลือกเหนียว ร า ค าประกันตันละ 12,000 บ าท ไม่เกินครัวเรือนละ 16 ตัน

ทั้งนี้ เกษตรกรผู้มีสิทธิได้รับการชดเชย จะต้องขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2563/64 (รอบที่ 1) กับกระทรวงเกษตรฯและสหกรณ์ ที่ปลูกข้าวระหว่างวันที่ 1 เมษายน – 31 ตุลาคม 2563 ยกเว้นภาคใต้ ระหว่างวันที่ 16 มิถุนายน 2563 – 28 กุมภาพันธ์ 2564 โดยเกษตรกรสามารถเข้าร่วมโครงการประกันฯ ได้แปลงละ 1 ครั้ง เท่านั้น เพื่อไม่ให้เป็นการจ่ายเงินซ้ำซ้อน
ในส่วนของการจ่านเงิน ธ.ก.ส. จะดำเนินการจ่ายเงินเข้าบัญชีเกษตรกรโดยตรงตามช่วงระยะเวลาที่กำหนดภายใน 3 วันทำการ นับตั้งแต่วันที่คณะอนุกรรมการฯ กำหนดเกณฑ์กลางอ้างอิงโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวประกาศร า ค าเกณฑ์กลางอ้างอิงในแต่ละรอบ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการลดภาระในการเข้าร่วมโครงการประกันรายได้ฯ เกษตรกรไม่ต้องทำสัญญาประกันรายได้กับ ธ.ก.ส.
มาตรการคู่ขนานโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2563/64
ประกอบไปด้วย 3 โครงการ ได้แก่
1 โครงการสินเชื่อชะลอการข ายข้าวเปลือกนาปีปีการผลิต 2563/64 วงเงิน 19,826 ล้านบ าท ระยะเวลาโครงการ 1 พฤศจิกายน 2563 – 31 ธันวาคม 2564
2 โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร ปีการผลิต 2563/64 วงเงิน 15,000 ล้านบ าท ระยะเวลาโครงการ ตุลาคม2563-31ธันวาคม 2564
3 โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต๊อก วงเงิน 610 ล้านบ าท ปีการผลิต 2563/64 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2563 – 31 ตุลาคม 2565 โดยทั้ง 3 โครงการจะใช้เงินงบประมาณรวมทั้งสิ้น 35,999 ล้านบ าท
อีกทั้ง ครม. ยังเห็นชอบ โครงการสนับสนุนค่าบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2563 /2564 โดยให้จ่ายเงินเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวกับกรมการส่งเสริมการเกษตร ในอัตราไร่ละ 500 บ าท ไม่เกินครัวเรือนละ 20 ไร่ หรือครัวเรือนละไม่เกิน 10,000 บ าท เป็นการจ่ายก่อนในเบื้องต้น วงเงินจ่ายข าด 28,046 ล้านบ าท
ขณะที่ตล าดโลกและตล าดในไทยเริ่มเปลี่ยนความต้องการข้าวแล้ว รศ.ดร.ประภาสระบุว่า ช่วงหลายปีที่ผ่านมาร า ค าข้าว กข ในตล าดโลก ต กลงมากที่สุด แต่ข้าวหอมมะลิ ข้าวหอมปทุม ยังพอส่งออกได้ หมายความว่าตล าดโลกต้องการข้าวที่มีคุณภาพมากขึ้น ส่วนในสังคมไทยปัจจุบันก็เริ่มมีกระแสรักสุขภาพที่คนต้องการกินข้าวพื้นเมืองไม่ขัดสี และพร้อมที่จะจ่ ายเงินกินข้าวเหล่านี้ แม้ว่าจะมีร า ค าสูงกว่าข้าวในท้องตล าดก็ตาม