Wednesday, 29 November 2023

ที่ดิน ส.ป.ก. ห้ ามซื้อข าย คนซื้อไม่ได้ คนข ายเสี ยสิทธิ ผิ ดกฎหม ายทั้งคู่

ฟังแล้วอาจจะขัดหู เพราะในความเป็นจริง มีการซื้อข ายที่ดิน สปก เป็นจำนวนม าก แต่ห ารู้ไม่ว่า การซื้อข ายดังกล่าว มันก็มีปัญห าเหมือนกัน ยิ่งช่วงนี้รัฐบ าลเค้าเคร่งอยู่ในเรื่องที่ดิน สปก. ถ้าไม่ทะเลาะกันก้ไม่มีปัญห าหรอก แต่ถ้าผิ ดใจกันถึงขั้นฟ้อ งร้ องเมื่อไร แพ้ชนะคดี ก็วัดกันตรงนี้แหละ ที่ดิน ส.ป.ก. เค้าห้ ามซื้อข ายกัน ห ากมีการซื้อข ายถือว่าสัญญานั้นมีวัตถุประสงค์ต้องห้ าม และสัญญานั้นมันต กเป็นโมฆ ะ แปลว่า ไม่เคยมีการซื้อข ายกันม าก่อนเลย

ยิ่งไปกว่านั้น เมื่อสัญญาต กเป้นโมฆ ะ และห ากมีการจ่ายเงินค่าที่ดินกันแล้ว ผู้ซื้อจะเรียกเงินคืนไม่ได้อีกด้วย ระวังกันหน่อย (ฎ1876/2542) ดังนั้น ใครจะซื้อข ายที่ดิน สปก คิดดีๆ นะ ควรปรึกษานักกฎหม ายก่อนดีกว่า เพื่อความปลอดภัยของทรัพย์สินของท่านเอง

ประมวลกฎหม ายแพ่งละพาณิชย์ ม าตรา 150 การใดมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ ามชัดแจ้งโดย กฎหม าย การนั้นเป็นโมฆ ะ ม าตรา 411 บุคคลใดได้กระทำการเพื่อชำระหนี้เป็นการอันฝ่าฝืนข้อห้ ามตามกฎหม ายหรือศีลธร รมอันดีท่านว่าบุคคลนั้นห าอาจจะเรียกร้องคืนทรัพย์ได้ไม่

พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร รม พ.ศ.2518 ม าตรา 39 ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร รมจะทำการแบ่ งแย ก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการต กทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธร รม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร รม

ผู้ที่ได้รับที่ดินจากการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรก รรม มีหน้าที่ปฏิบัติตามระเบียบคณะกร รมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร รมว่าด้วยการให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ผู้ได้รับที่ดินจากการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร รมปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน พ.ศ. 2535 (ระเบียบเข้าทำประโยชน์) โดยข้อ 7 ของระเบียบดังกล่าวกำหนดให้เกษตรกรต้องทำประโยชน์ในที่ดินที่ได้รับด้วยตนเอง และห้ ามแบ่ งแย กหรือโอนสิทธิไปยังบุคคลอื่น ไม่ว่าจะด้วยวิธีซื้อข าย

ยกที่ดินที่ได้รับให้บุคคลอื่น หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ซึ่งศาลฎีกาเคยวินิจฉัยว่า การส่งมอบที่ดินให้บุคคลอื่นครอบครอง และยังส่งมอบเอกสารส.ป.ก.4-01 ให้บุคคลอื่นยึดถือไว้ตลอดมาพฤติการณ์แสดงให้เห็นว่า ผู้ได้รับอนุญาตให้เข้าทำประโยชน์สละสิทธิทำกินในที่ดินพิพาทและโอนสิทธิทำกินให้บุคคลอื่นแล้ว (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5211/2560)

การกระทำการที่ฝ่าฝืนข้อห้ ามดังกล่าวเป็นเหตุให้เกษตรกรสิ้นสิทธิเข้าทำประโยชน์ในที่ดินตามข้อ 11 ของระเบียบเข้าทำประโยชน์ อันการเสี ยสิทธิเข้าทำกินในที่ดิน และต้องออกจากที่ดินที่ได้รับอนุญาต ห ากไม่ยินยอมออกถือเป็นการทำผิ ดฐานบุ กรุ กตามประมวลกฎหม ายอ าญ าม าตรา 362 ต้องโท ษจำคุnไม่เกินหนึ่งปี หรือปรั บไม่เกินสองพันบ าท หรือทั้งจำทั้งปรั บ

อีกทั้ง ที่ดินส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินของรัฐซึ่งตามประมวลกฎหม ายที่ดินม าตรา 9 ห้ ามมิให้บุคคลใดที่ไม่ได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปยึดถือหรือครอบครอง ซึ่งเกษตรกรผู้สิ้นสิทธิการเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. แล้ว แต่ไม่ยอมออกจากที่ดินถือเป็นผู้ที่เข้าไปยึดถือหรือครอบครองที่ดินของรัฐโดยไม่ได้รับอนุญาตต้องโท ษจำคุnไม่เกินหนึ่งปีหรือปรั บไม่เกินห้าพันบ าทหรือทั้งจำทั้งปรั บ ทั้งนี้ ตามม าตรา 108 ทวิ แห่งประมวลกฎหม ายที่ดินอีกด้วย

ผู้ซื้อเสี ยเงินฟรีโดยไม่อาจได้รับสิทธิเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.

ในส่วนผู้ซื้อที่ดินนั้น เมื่อที่ดินส.ป.ก.ต้องห้ ามมิให้โอน ซื้อข ายเปลี่ยนมือการทำสัญญาซื้อข ายหรือสัญญาอื่นใดในลักษณะที่มีพฤติการณ์ให้มีผลเป็นการโอนหรือซื้อข ายที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นการทำนิติกร รมที่ขั ดกฎหม ายและต กเป็นโมฆ ะตาม ม าตรา 150 แห่งประมวลกฎหม ายแพ่งและพาณิชย์ (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๐๖๖๙/๒๕๔๖ และ ๑๘๗๖/๒๕๔๖) ความเป็นโม ฆ ะของสัญญาดังกล่าวมีผลให้ความผูกพันตามสัญญาของคู่สัญญาเสี ยเปล่าไปด้วย

ผู้ซื้อที่ดิน ส.ป.ก. จึงไม่ได้รับสิทธิเข้าทำประโยชน์ในที่ดินดังกล่าว และเมื่อการซื้อที่ดิน ส.ป.ก.เป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหม าย จึงถือไม่ได้ว่าผู้ซื้อได้เข้าครอบครองที่ดินของส.ป.ก. โดยสุจริต จะทำให้เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติได้รับการจัดที่ดินจาก ส.ป.ก. ได้ ผู้ซื้อหรือผู้รับโอนที่ดิน ส.ป.ก. โดยมิชอบด้วยกฎหม ายจึงไม่อาจได้รับสิทธิให้เข้าทำประโยชน์หรืออยู่อาศัยในที่ดิน ส.ป.ก. ได้

นอกจากนี้ กฎหม ายยังถือว่าการที่ผู้ซื้อที่ดินได้ชำร ะเงินค่าที่ดินส.ป.ก.ทั้งที่รู้ว่าเป็นที่ดินซึ่งต้องห้ ามซื้อข ายเปลี่ยนมือ เป็นการฝ่ าฝื นข้อห้ ามตามกฎหม าย ซึ่งตามประมวลกฎหม ายแพ่งและพาณิชย์ม าตรา 411ผู้ซื้อไม่อาจเรียกคืนเงินที่ชำร ะไปได้ ดังนี้ จึงพอสรุปได้ว่าผู้ซื้อที่ดินส.ป.ก. นอกจากจะไม่ได้รับสิทธิใดๆ จากการซื้อที่ดินส.ป.ก. แล้ว ยังต้องเสี ยเงินจากการซื้อที่ดินโดยไม่อาจเรียกคืนจากผู้ข ายได้ด้วย ยิ่งไปกว่านั้น ผู้ซื้อที่ดินส.ป.ก. ไม่มีสิทธิตามกฎหม ายที่จะเข้าใช้ประโยชน์ในที่ดินและต้องออกจากที่ดิน ส.ป.ก. กรณีไม่ยอมออกจากแปลงที่ดินถือว่าผู้ซื้ออยู่ในที่ดินโดยไม่มีสิทธิ และเป็นการทำผิ ดฐานบุกรุกตามประมวลกฎหม ายอาญาม าตรา 362 ต้องโท ษจำคุnไม่เกินหนึ่งปี หรือปรั บไม่เกินสองพันบ าท หรือทั้งจำทั้งปรั บ

จึงอาจกล่าวโดยสรุปว่า การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร รม เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม แก้ปัญห าผู้ไร้ที่ดินทำกิน โดยมีม าตรการป้องกันมิให้ที่ดินต กอยู่ในมือบุคคลที่ไม่ได้ประกอบอาชีพเกษตรกร รมและเกษตรกรกลายเป็นผู้เช่าที่ดินหรือผู้ไร้ที่ดินทำกิน ดังนั้น การซื้อข ายที่ดิน ส.ป.ก. จึงเป็นการกระทำขั ดวัตถุประสงค์ของกฎหม าย มีโท ษตามกฎหม าย “ผู้ข ายเสี ยสิทธิ ผู้ซื้อเสี ยเงินฟรี ทั้งคู่อาจต้องรับโท ษจำคุn

ขอบคุณข้อมูลสำนักกฎหม าย ส.ป.ก. (1)ดร.ไชยยงค์ ชูชาติ ขอเสนอโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อกระจายความมั่งคั่งไปสู่เกษตรกรไทยผู้ย ากจ น (เอกสารปฏิรูปที่ดินฉบับที่ ๘, ๒๕๑๘) (2)สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร รม, ความเป็นม าของการปฏิรูปที่ดินในประเทศไทย มีนาคม ๒๕๕๔ หน้า ๒๙-๓๐

ฟังแล้วอาจจะขั ดหู เพราะในความเป็นจริง มีการซื้อข ายที่ดิน สปก เป็นจำนวนม าก แต่ห ารู้ไม่ว่า การซื้อข ายดังกล่าว มันก็มีปัญห าไม่น้อย

ขอบคุณข้อมูล:ทนายรัชพล ศิริสาคร ประธานชมรมสนับสนุนการต่อสู้เพื่อความยุติธร รม เพจ สายตรงกฎหม าย ยึดมั่นความยุติธร รม โทร 0957563521

เรียบเรียงโดย 1ไร่ไม่ จ น

Facebook Comments Box